เผยแพร่แล้ว: ธ.ค. 27, 2021
 
   
    คำสำคัญ:
  ภาวะตกเลือดหลังคลอด
  ปากมดลูกฉีกขาด 
  เลือดออกจากมดลูกส่วนล่าง 
  หัตถการกดมดลูกส่วนล่าง
  ผ่านทางหน้าท้อง
 
   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

 
   
 
 
 
    Language
 
      English  
      ภาษาไทย  
 
 
    Information
 
      สำหรับผู้อ่าน  
      สำหรับผู้แต่ง  
      สำหรับบรรณารักษ์  
 
 
    Home ThaiJo
 
   
 
 
 
    Manual
 
      For Author  
      For Reviewer  
 
 
    เว็บไซต์
 
      โรงพยาบาล
    เจริญกรุงประชารักษ
 
      www.ckphosp.go.th  
 
 

 

 
     
 
 
     
     
 

ความสัมพันธ์ระหว่างการฉีกขาดของปากมดลูก ภาวะเลือดออกจากมดลูกส่วนล่าง
และทำหัตถการกดมดลูกส่วนล่างผ่านทางหน้าท้อง
ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอดปฐมภูมิ

 
     
     
 
วันชัย จันทราพิทักษ์
สาวิตรี สุวิกรม
วีรพล เขมะรังสรรค์
นิพันธ์ บุญยัง
เรณู วัฒนเหลืองอรุณ

บทคัดย่อ

บทนำ: ภาวะตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage: PPH) เป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของมารดาหลังคลอด ปากมดลูกฉีกขาด
(cervicaltear/laceration)เป็นหนึ่งในต้นเหตุของภาวะตกเลือดหลังคลอดปากมดลูกฉีกขาดเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากในการคลอดแต่มีจำนวนน้อย
ที่เกิดปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากเสียเลือดมากจนเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดซึ่งสาเหตุอาจไม่ได้เกิดจากภาวะปากมดลูกฉีกขาดเพียงอย่างเดียว ภาวะเลือดออก
จากมดลูกส่วนล่าง (lower uterine segment bleeding) อาจเป็นสาเหตุร่วม การรักษาให้ตรงสาเหตุจะทำให้การรักษาได้ผลดียิ่งขึ้น


วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเลือดออกจากปากมดลูกฉีกขาดกับภาวะเลือดออกจากมดลูกส่วนล่างและการทำหัตถการกดมดลูกส่วนล่าง
ผ่านทางหน้าท้อง


วิธีดำเนินการศึกษา: การศึกษานี้ได้ทบทวนวรรณกรรมของภาวะปากมดลูกฉีกขาดและได้ศึกษาอุบัติการณ์ภาวะแทรกซ้อนเช่น ภาวะตกเลือดหลังคลอดจำนวนเลือด
ที่สูญเสียหลังคลอดและภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆของปากมดลูกฉีกขาดในห้องคลอดโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ เปรียบเทียบอุบัติการณ์ของปากมดลูกฉีกขาด
และภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยที่คลอดปกติและกลุ่มที่คลอดปกติร่วมกับการใช้หัตถการกดมดลูกส่วนล่างผ่านทางหน้าท้อง (lower uterine segment
compression) โดยศึกษาเป็น 2 ช่วงคือ พ.ศ. 2557 - 2560 (4 ปี) และ พ.ศ. 2537 - 2556 (20 ปี)


สรุป: ภาวะเลือดออกจากมดลูกส่วนล่างอาจมีบทบาทในภาวะเลือดออกจากปากมดลูกฉีกขาดโดยเลือดส่วนหนึ่งมาจากมดลูกส่วนล่าง จึงเป็นเหตุผลว่าทำไม
Cho’s compression suture จึงได้ผลดีในการรักษาปากมดลูกฉีกขาด การศึกษานี้พบว่า การทำหัตถการกดมดลูกส่วนล่างผ่านทางหน้าท้อง ช่วยลดอุบัติการณ์
์ของภาวะเลือดออกจากปากมดลูกฉีกขาด โดยหัตถการมีการกระทำที่คล้ายกับหัตถการ Cho’s compression suture ดังนั้น หัตถการกดมดลูกส่วนล่าง
ผ่านทางหน้าท้องจึงเป็น none invasive surgical maneuver แทน Cho’s compression suture ซึ่งหัตถการนี้ได้ผลดีเป็นการลดการผ่าตัด
ลดความเจ็บปวดและลดภาวะแทรกซ้อนโดยรวมทั้งหมดของปากมดลูกฉีกขาดได้เป็นอย่างดี 

 
     
     
     
 
   ฉบับ  

    ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (2564): กรกฏาคม - ธันวาคม 2564

 
 
     
     
 
   บทความ  
    บทความวิชาการ  
 
     
     
     
 

References

Cunnigham FG, Levenc KJ, Bloom SL, Dashe JS, Hoffman BL, Casey BM, et al.editors.Williams obstetrics.

thed.New York: McGraw-Hill; 2018. p.1674.

Anderson J, Etches D. Prevention and management of postpartum hemorrhage. Am Fam Physician 2007;75:

-82.

American C. ACOG practice bulletin: clinical management guidelines for obstetrician-gynecologists number

, October 2006: postpartum hemorrhage. ObstetGynecol 2006;108:1039-47.

Chantrapitak W, Anansakunwat W, Suwikrom S, Wattanaluangarun R. The correlation of lower uterine

segment atony after delivery with atonic postpartum hemorrhage.Journal of CharoenkrungPracharak

Hospital 2019;115:1-13.

Khasklsli M, Baloch S, Baloch AS. Obstetrical trauma to the genital tract following vaginal delivery. J Coll

Physicians Surg Pak 2012; 22: 95-7.

Wetta LA, Szychowski JM, Seals S, Mancuso MS, Biggio JR, Tita ATN. Risk factor for uterine atony

postpartum hemorrhage requiring treatment after vaginal delivery. Am J obstetgynecol 2013; 209: 51e1-6.

Committee on Practice Bulletins-Obstetrics. Postpartum hemorrhage. ACOG practice bulletin. No 183; 2017.

Parikh R, Brotzman S, Anasti JN. Cervical laceration: some surprising fact. Am JObstetGynecol 2007; 196:

- 8.

Cunningham FG. Obstetrical hermarrhag.In: Cunningham FG, Gant NF,Leveno KJ, Gilstrap III LC,

HauthJC,Wenstrom KD, editors. Williams obstetrics. 21sted. New York:McGraw-Hill; 2001. p. 644 - 5.

Cunnigham FG, Levenc KJ, Bloom SL, Dashe JS, Hoffman BL, Casey BM, et al. editors. Williams

obstetrics. 25thed. New York: McGraw-Hill; 2018. p.1687.

Campbell P, Fogartypcervical tears.WorldclinObstetGynecol 2012; 2: 199 - 206.

Albayrak M, Ozdemir I, Koc O, Demiraran Y. Post-partum hemorrhage from the lower uterine segment

secondary to placenta previa/ accreta: successful conservative management with foley balloon tamponade.

Aust N Z J ObstetGynaecol 2011; 51: 377-80.

Yuksel H. A novel approach to primary lower uterine segment atony. Taiwan JObstetGynecol 2015; 54:

-4.

Panda B, Laifer S, Stiller R, Kleinman G. Primary atony of the lower uterine segment as a distinct cause of

early postpartum hemorrhage: a case series and management recommendations. JObstetGynaecol 2009; 29:

-32.

Kaya B, Tuten A, Daglar K, Misirlioglu M, Polat M, Yildirim Y, etal. Ballontampanade for the management

of postpartum uterine hemorrhage. J Perinat Med 2014; 42: 745-53.

Chantrapitak W, Srijanteok K, Puangsa-art S. Lower uterine segment compression for management of early

postpartum hemorrhage after vaginal delivery at CharoenkrungPracharak Hospital. J Med Assoc Thai 2009;

: 600-5.

Chantrapitak W, Srijuntuk K, Wattanaluangarun R. The efficacy of lower uterine segment compression for

prevention of early postpartum hemorrhage after vaginal delivery. J Med Assoc Thai2011; 94:649-56.

Anansakunwat W, lamurairat W, Boonyoung P.Lower uterine segment compression for 20 minutes to

prevent early postpartum hemorrhage. J Med Assoc Thai 2018; 101: 1151-6.

Chantrapitak, W, Anansakunwat W, Suwikrom S, Wattanaluangarun R, Puangesa-art S. Postpartum

hemorrhage outcome in lower uterine segment compression maneuver: A 20-Year Experience in

CharoenkrungPracharak Hospital. J Med Assoc Thai 2018; 101: 495-500.

Alves ALL, Francisco AA, Osanan GC, Vieira LB. Postpartum hemorrhage:prevention, diagnosis and non-

surgical management. RBOG Gynecology & obstetrics 2020; 42: 776-84.

Matsubara S, Yano H, Ohkichi A, Kuwata T, Usui R, Suzuki M. Uterine compression sutures for postpartum

hemorrhage: an overview. Acta ObstetGynecolScand2013; 92: 378-85.